97civic
Gold Member
อาจารย์ปู่
  
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 3,154
นายใจดี
|
 |
« เมื่อ: 14 เมษายน 2011, 09:34:47 » |
|
ถึงกำหนดเปลี่ยนน้ำมันเครืองเเล้วครับ อยากร้ว่า คือผมใช้ 10W-40 อยู่เลยอยากรุ้ว่ามันต่างกันอย่างไรคัรบ 0W-40 5W-40 ขอบุคณครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
อาจจะมีใครสักคนรออยู่ที่ปลายฟ้า บอกใจเสมอว่าคนที่รออยู่ไม่ไกล อาจจะมีใครสักคนรับฝากรักในหัวใจ เส้นทางชีวิตอันแสนไกล จะมีคนรักเดินเคียงข้างกัน
|
|
|
|
97civic
Gold Member
อาจารย์ปู่
  
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 3,154
นายใจดี
|
 |
« ตอบ #2 เมื่อ: 15 เมษายน 2011, 15:42:59 » |
|
เมืองไทย ดูแค่ตัวเลขด้านหลังอย่างเดียวครับ ตัวเลขด้านหน้าหมายถึงตอนเครื่องเย็น ว่าน้ำมันมันจะทนความเย็นได้รึเปล่าคือไม่แข็งเป็นวุ้นจนไม่ยอมไหลไปตามทางเดินน้ำมันเครื่องไปซ่ะก่อน ตัวเลขด้านหลังคือตอนเครื่องร้อน น้ำมันมันจะหนืดแค่ไหน ถ้า สามแบบที่ถามมาถ้าใช้ในบ้านเราผมว่าไม่ต่างกันเลย เพราะตัวเลขด้านหลังเท่ากัน แต่พวกแพงๆตัวเลขด้านหน้ามักจะน้อยเพราะว่าสูตรเดียวจะได้ขายได้ทั่วโลกไม่ต้องคิดหลายๆสูตร  เลยกำหนดมา 500 โลเเล้วเน้ยยังไม่ได้เปลี่ยนเลยติดสงกรานต์อีก ตอนนี้เล็งๆ PTT Racing Syhthetic 5W-50 ไว้ ไม่รุ้ว่าจะมีผลอะไรหรือว่า ครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
อาจจะมีใครสักคนรออยู่ที่ปลายฟ้า บอกใจเสมอว่าคนที่รออยู่ไม่ไกล อาจจะมีใครสักคนรับฝากรักในหัวใจ เส้นทางชีวิตอันแสนไกล จะมีคนรักเดินเคียงข้างกัน
|
|
|
|
|
|
|
nus.ek
เจ้าสำนัก
    
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 816

SIR
|
 |
« ตอบ #7 เมื่อ: 15 เมษายน 2011, 19:29:27 » |
|
ถึงกำหนดเปลี่ยนน้ำมันเครืองเเล้วครับ อยากร้ว่า
คือผมใช้ 10W-40 อยู่เลยอยากรุ้ว่ามันต่างกันอย่างไรคัรบ
0W-40
5W-40
ขอบุคณครับ
ที่ใช้อยู่ก็ดีแล้วครับ แต่ถ้าเหลือ ใช้เกรดที่กล่าวมายิ่งดีเข้าไปอีก ตัวเลขที่กล่าวมา คือ w หมายถึงอุณหภูมิ(ที่เป็นลบ) ที่น้ำมันหล่อลื่นยังมีคุณสมบัติใช้ได้อยู่ เช่น 10w 40, 10w หมายถึง -10 องศา อุณหภูมิต่ำกว่านี้ใช้ไม่ได้ ซึ่งบ้านเราไม่หนาวขนาดนั้น(หิมะตก)ไม่ต้องไปสนใจคับอีกอย่างค่าความหนืดจะแปรผันตรงกับอุณหภูมิคับ คือยิ่งหนาวยิ่งหนืด ยิ่งร้อนยิ่งลื่นคับ ตัวเลขหลังเป็นค่าความหนืดสำหรับบ้านเราคับ เช่น 10w 40, 40 หมายถึง ความหนืด SAE40 cSt (cSt = centistoke, 1 cm2/sec = 1 stoke, 1/100 stoke = 1 centistoke) หมายถึง การที่นำน้ำมัน 60 cc มาใส่หลอดแก้ว แล้วให้มันไหลลงมาผ่านรูขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 mm. ให้หมดแล้วจับเวลา แล้วเอาไปคำนวณเป็นค่าความหนืด ของ standard ของ SAE (The society of Automotive Engineer) ข้างล่างนี้แถมให้เผื่อไปเลือน้ำมันใช้คับ มาตรฐานน้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์เบนซินAPI SM มาตรฐานคุณภาพระดับสูงสุดของน้ำมันหล่อลื่นเครื่องยน ต์เบนซิน ประกาศใช้เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2547 พร้อมกันทั่วโลก ซึ่งกำหนดโดยสถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา โดย API SM เป็นมาตรฐานหล่อลื่นที่ใช้กับรถรุ่นใหม่ ซึ่งเพิ่มคุณสมบัติหล่อลื่นให้สูงขึ้นในด้านต่างๆ ดังนี้ • ประสิทธิภาพในการักษาความสะอาดชิ้นส่วนเครื่องยนต์สู งสุด • ป้องกันการสึกหรอของชุดขันเคลื่อนวาล์ว (Valve Train) ดีขึ้น • ลดการระเหยและการเติมพร่อง • ยืดอายุการใช้งานได้ยาวนานขึ้น • ช่วยยืดอายุกรองไอเสีย (Catalytic converter) API SL ประกาศใช้แล้วในปี 2001 API SJ สำหรับเครื่องยนต์เบนซิน ประกาศใช้ตั้งแต่ปี 1977 น้ำมันที่ได้มาตรฐานนี้ทดสอบตามข้อกำหนดของ CMA Product Approval Code of Practice, API Base Oil Interchange และ Viscosity Grade Engine Testing สามารถป้องกันการเกิดตมในอ่างน้ำมันเครื่องต้านทานกา รรวมตัวกับออกซิเจนและการสึกหรอ ป้องกันการเกิดสนิมและการกัดกร่อน ลดคราบจับลูกสูบที่เกิดขึ้นขณะอุณหภูมิสูง ลดอัตราการกินน้ำมันเครื่องและการเกิดฟอง API SH สำหรับเครื่องยนต์เบนซิน รถยนต์นั่ง รถตู้ และรถบรรทุกขนาดเล็ก ปี 1994 น้ำมันที่ได้มาตรฐานนี้มีคุณสมบัติสูงกว่ามาตรฐานขั้ นต่ำของ API SH โดยทดสอบตามข้อกำหนดของ Chemical Manufacturers Association (CMA) Product Approval Code of Practice , API Base Oil Interchange และ Viscosity Grade Engine Testing สามารถป้องกันการเกิดตมในอ่างน้ำมันเครื่องต้านการรว มตัวกับออกซิเจนและการสึกหรอ ป้องกันการเกิดสนิมและการกัดกร่อน API SG สำหรับเครื่องยนต์เบนซิน รถยนต์นั่ง รถตู้ และรถบรรทุกขนาดเล็ก ปี 1989 น้ำมันที่ได้มาตรฐานนี้มีคุณสมบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐ าน SF ในด้านป้องกันการเกิดตม (Sludge) ในอ่างน้ำมันเครื่องต้านทานการรวมตัวกับออกซิเจนและป ้องกันการสึกหรอ นอกจากนี้ยังป้องกันสนิมและการกัดกร่อนได้ดีอีกด้วย สามารถใช้กับเครื่องยนต์ที่แนะนำให้ใช้มาตรฐาน SF, SE, SF/CC หรือ SE/CC ด้วย API SF สำหรับเครื่องยนต์เบนซิน รถยนต์นั่งและรถบรรทุกบางชนิด ตั้งแต่ปี 1980-1988 หรือรุ่นที่บริษัทผู้ผลิตเครื่องยนต์แนะนำให้ใช้ มีสารเพิ่มคุณภาพมากกว่าเกรด SE นอกจากนี้ยังรักษาความสะอาด ป้องกันสนิมและการกัดกร่อนได้ดี API SE สำหรับเครื่องยนต์เบนซิน รถยนต์นั่ง และรถบรรทุกรุ่นเล็ก ตั้งแต่ปี 1971 (บางรุ่น) และปี 1972-1979 มีสารเพิ่มคุณภาพมากกว่าเกรด SD และ SC เพื่อป้องกันการรวมตัวกับออกซิเจนต้านทานการรวมตัวขอ งเขม่าและตะกอนที่อุณหภูมิสูง ป้องกันสนิมและการกัดกร่อน สามารถใช้แทนมาตรฐานเกรด SD และ SC ได้ API SD สำหรับเครื่องยนต์เบนซิน รถยนต์นั่งและรถบรรทุกเล็ก ปี 1968-1970 และรถปี 1971 บางรุ่น มีสารเพิ่มคุณภาพมากกว่าเกรด SC เพื่อต้านทานการรวมตัวของเขม่าและตะกอนที่อุณหภูมิสู งและต่ำ ป้องกันการสึกหรอ สนิมและการกัดกร่อนสามารถใช้กับเครื่องยนต์ที่แนะนำใ ห้ใช้น้ำมันหล่อลื่นเกรด SC ได้ API SC สำหรับเครื่องยนต์เบนซินรุ่นปี 1964-1967 ของรถยนต์ และรถบรรทุก (บางรุ่น) มีสารต้านการรวมตัวของเขม่าตะกอนที่อุณหภูมิสูงและต่ ำ ป้องกันการสึกหรอ สนิมและการกัดกร่อนในเครื่องยนต์เบนซิน API SB สำหรับเครื่องยนต์สภาพงานเบา ประกาศใช้ปี 1930 มีสารเพิ่มคุณภาพประเภทป้องกันการสึกหรอ การรวมตัวกับออกซิเจน และกัดกร่อนแบริ่งผสมเล็กน้อย น้ำมันนี้ไม่ควรใช้กับเครื่องยนต์ในปัจจุบัน ยกเว้นบริษัทผู้ผลิตเครื่องยนต์นั้นๆ แนะนำให้ใช้ API SA สำหรับเครื่องยนต์รุ่นเก่าและสภาพงานเบา น้ำมันหล่อลื่นชนิดนี้ไม่มีสารเพิ่มคุณภาพใดๆ ทั้งสิ้น ไม่ควรใช้กับเครื่องยนต์ในปัจจุบัน ยกเว้นบริษัทผู้ผลิตเครื่องยนต์นั้นๆ แนะนำให้ใช้ มาตรฐาน API ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันได้แก่ API SJ, API SH และ API SM ส่วนมาตรฐานที่ต่ำกว่านี้เป็นมาตรฐานที่ API ยกเลิกแล้วทั้งสิ้น แต่ยังมีขายและใช้อยู่เนื่องจากใช้กับรถเก่าหรือรถที ่มีคู่มือระบุให้ใช้ เช่น API SG และ SF เป็นต้น ส่วนน้ำมันชั้นคุณภาพ API SA และ SB ไม่ควรใช้กับรถปัจจุบัน และกระทรวงพาณิชย์ไม่อนุญาตให้จำหน่ายในท้องตลาด หมายเหตุ : SH คุณภาพสูงกว่า SG และ SJ คุณภาพสูงกว่า SH
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
"มิตรภาพ ไม่มีวันหมด"
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
NATASHA
Gold Member
เจ้ายุทธภพ
  
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 1,079

|
 |
« ตอบ #27 เมื่อ: 17 เมษายน 2011, 11:17:18 » |
|
เลขตัวหลังเป็นค่าความหนืดครับ 30 จะใสทำให้สามารถปั๊มขึ้ไปหล่อเลี้ยงชิ้นส่วนต่างๆได้อย่างรวดเร็วในขณะสตาร์ท แต่ก็จะมีการละเหยเป็นไอและถูกเผาไหม้ในกระบอกสูบบ้างจึงอาจมีน้ำมันเครื่องหาย 50 จะหนืดเหมาะสำหรับรถเก่าที่เครื่องหลวมและต้องเติมน้ำมันเครื่องบ่อย ในความคิดส่วนตัว 40 จะเหมาะสุดกับรถที่ใช้งานมาแล้วเกิน 4 ปี ส่วนความต่างระหว่างสังเคราะห์กับกึ่งสังเคราะห์คือคุณสมบัติของฟิล์มน้ำมันสังเคราะห์จะคงตัวกว่าเมื่อโดนความร้อนต่อเนื่องจึงรู้สึกว่าลื่นและเงียบกว่าแต่....แพง
|
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 17 เมษายน 2011, 11:25:34 โดย NATASHA »
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
p jung
Gold Member
อาจารย์ปู่
  
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 13,408

คุณชายพี
|
 |
« ตอบ #28 เมื่อ: 17 เมษายน 2011, 12:11:42 » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
|
|
p jung
Gold Member
อาจารย์ปู่
  
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 13,408

คุณชายพี
|
 |
« ตอบ #32 เมื่อ: 19 เมษายน 2011, 11:38:33 » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
|
|
|
p jung
Gold Member
อาจารย์ปู่
  
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 13,408

คุณชายพี
|
 |
« ตอบ #37 เมื่อ: 19 เมษายน 2011, 21:37:39 » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
|