taxman : ปทุมธานี
= ประธานคลับ . . . โอมเหม่ง =
ประธานคลับ
อาจารย์ปู่
      
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 23,937

Work hard, Play hard
|
 |
« เมื่อ: 25 มกราคม 2008, 11:38:32 » |
|
|
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 25 มกราคม 2008, 16:13:58 โดย taxman »
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
j_nobita
อยากกระโดดหอมแก้ม
Gold Member
อาจารย์ปู่
  
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 16,034
เหมียว หง่าว
|
 |
« ตอบ #2 เมื่อ: 25 มกราคม 2008, 11:42:33 » |
|
ความรู้ แสนอร่อย รอครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
คิดดี พูดดี ทำดี คบคนดี ไปสู่สถานที่ดี
|
|
|
|
|
neat_boy?
Gold Member
อาจารย์ปู่
  
ออฟไลน์
กระทู้: 14,994

|
 |
« ตอบ #5 เมื่อ: 25 มกราคม 2008, 11:50:55 » |
|
เดี๋ยวผมจะมาตอบครับ
มาแล้วครับ เอาทีละข้อแล้วตรวจทานด้วยนะครับอาจารย์แตกแมน 1. Sub-Prime คืออะไร อาการชนิดนึง .. แปลเป็นไทยว่าด้อย ตัวอย่าง "แจ๊คล่มปากอ่าว "2. Sub-Prime ในสหรัฐฯ ทำไมถึงเป็นข่าวดังกระฉ่อนไปทั่วโลก เพราะสบู่แตกฟองที่อเมริกา 3. ผลกระทบที่เกิดขึ้นในสหรัฐเป็นอย่างไร สบู่แตกฟองก็แฮ๊ปปี้ซิครับ4. จะมี Impact ถึงประเทศไทยหรือไม่ อย่างไร มีครับ ปู่แจ๊คก็อยากสบู่แตกฟองบ้าง ใช้เครดิตเสียๆไปรูดที่กาแล๊คซี่ 5. จะรับมือกับมันอย่างไร สบู่แตกฟองที่กาแล๊คซี่ให้น้อยลงครับ
|

jack.gif (5.22 KB, 225x130 - ดู 158 ครั้ง.)
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 25 มกราคม 2008, 11:54:09 โดย neat_boy »
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
Namwhan
อแฟนัง ติตัว ปรมาลาภา ความไม่มีแฟนติดตัวเป็นลาภอันประเสริฐ
อาจารย์ปู่
      
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 10,793
หนาว.ว..?
|
 |
« ตอบ #7 เมื่อ: 25 มกราคม 2008, 12:00:40 » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Octillion
งงอ่ะดิ
Gold Member
อาจารย์ปู่
  
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 8,854

|
 |
« ตอบ #8 เมื่อ: 25 มกราคม 2008, 12:06:24 » |
|
ก๊อบมาทั้งดุ้นเลยนะ  Subprime lending (also known as B-paper, near-prime, or second chance lending) is the practice of making loans to borrowers who do not qualify for the best market interest rates because of their deficient credit history. The phrase also refers to banknotes taken on property that cannot be sold on the primary market, including loans on certain types of investment properties and certain types of self-employed individuals. Subprime lending is risky for both lenders and borrowers due to the combination of high interest rates, poor credit history, and adverse financial situations usually associated with subprime applicants. A subprime loan is offered at a rate higher than A-paper loans due to the increased risk. Subprime lending encompasses a variety of credit instruments, including subprime mortgages, subprime car loans, and subprime credit cards, among others. The term "subprime" refers to the credit status of the borrower (being less than ideal), not the interest rate on the loan itself. Subprime lending is highly controversial. Opponents have alleged that the subprime lending companies engage in predatory lending practices such as deliberately lending to borrowers who could never meet the terms of their loans, thus leading to default, seizure of collateral, and foreclosure. There have also been charges of mortgage discrimination on the basis of race.[1] Proponents of the subprime lending maintain that the practice extends credit to people who would otherwise not have access to the credit market.[2] The controversy surrounding subprime lending has expanded as the result of an ongoing lending and credit crisis both in the subprime industry, and in the greater financial markets which began in the United States. This phenomenon has been described as a financial contagion which has led to a restriction on the availability of credit in world financial markets. Hundreds of thousands of borrowers have been forced to default and several major American subprime lenders have filed for bankruptcy. credit : wikipedia ปอลิง อยากกิน SUBWAY เลี้ยงหน่อยเดะ 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Namwhan
อแฟนัง ติตัว ปรมาลาภา ความไม่มีแฟนติดตัวเป็นลาภอันประเสริฐ
อาจารย์ปู่
      
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 10,793
หนาว.ว..?
|
 |
« ตอบ #9 เมื่อ: 25 มกราคม 2008, 12:08:08 » |
|
ทำไมไม่แปลด้วยฟ่ะ 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
|
Namwhan
อแฟนัง ติตัว ปรมาลาภา ความไม่มีแฟนติดตัวเป็นลาภอันประเสริฐ
อาจารย์ปู่
      
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 10,793
หนาว.ว..?
|
 |
« ตอบ #12 เมื่อ: 25 มกราคม 2008, 12:38:43 » |
|
งั้นอย่าช่วยเลย 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Tikkz
= ลุงติ๊ก เจ้าชายโรมัน ฮี่ๆๆๆๆ =
Gold Member
อาจารย์ปู่
  
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 7,108

เนี่ย ๆ ๆ คิดถึง นู๋ มั้ย
|
 |
« ตอบ #13 เมื่อ: 25 มกราคม 2008, 12:39:30 » |
|
 SUB-PRIME คืออะไรรู้จักแต่ v v v v v v v v v v v v v v v v v v v v v v v v v v v v v v v v v SUB-JARNG ทรัพย์จาง :'(
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Namwhan
อแฟนัง ติตัว ปรมาลาภา ความไม่มีแฟนติดตัวเป็นลาภอันประเสริฐ
อาจารย์ปู่
      
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 10,793
หนาว.ว..?
|
 |
« ตอบ #14 เมื่อ: 25 มกราคม 2008, 13:07:00 » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
|
|
taxman : ปทุมธานี
= ประธานคลับ . . . โอมเหม่ง =
ประธานคลับ
อาจารย์ปู่
      
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 23,937

Work hard, Play hard
|
 |
« ตอบ #18 เมื่อ: 25 มกราคม 2008, 13:26:49 » |
|
ก๊อบมาทั้งดุ้นเลยนะ  Subprime lending (also known as B-paper, near-prime, or second chance lending) is the practice of making loans to borrowers who do not qualify for the best market interest rates because of their deficient credit history. The phrase also refers to banknotes taken on property that cannot be sold on the primary market, including loans on certain types of investment properties and certain types of self-employed individuals. Subprime lending is risky for both lenders and borrowers due to the combination of high interest rates, poor credit history, and adverse financial situations usually associated with subprime applicants. A subprime loan is offered at a rate higher than A-paper loans due to the increased risk. Subprime lending encompasses a variety of credit instruments, including subprime mortgages, subprime car loans, and subprime credit cards, among others. The term "subprime" refers to the credit status of the borrower (being less than ideal), not the interest rate on the loan itself. Subprime lending is highly controversial. Opponents have alleged that the subprime lending companies engage in predatory lending practices such as deliberately lending to borrowers who could never meet the terms of their loans, thus leading to default, seizure of collateral, and foreclosure. There have also been charges of mortgage discrimination on the basis of race.[1] Proponents of the subprime lending maintain that the practice extends credit to people who would otherwise not have access to the credit market.[2] The controversy surrounding subprime lending has expanded as the result of an ongoing lending and credit crisis both in the subprime industry, and in the greater financial markets which began in the United States. This phenomenon has been described as a financial contagion which has led to a restriction on the availability of credit in world financial markets. Hundreds of thousands of borrowers have been forced to default and several major American subprime lenders have filed for bankruptcy. credit : wikipedia ปอลิง อยากกิน SUBWAY เลี้ยงหน่อยเดะ  เก่งมากเจ้าหนอน ไปหาซื้อ subway ได้ที่สถานีรถไฟดอนเมือง
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
|
|
|
Holaguide
No Pain, No Gain
Gold Member
อาจารย์ปู่
  
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 3,276

|
 |
« ตอบ #23 เมื่อ: 25 มกราคม 2008, 15:43:23 » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Octillion
งงอ่ะดิ
Gold Member
อาจารย์ปู่
  
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 8,854

|
 |
« ตอบ #24 เมื่อ: 25 มกราคม 2008, 15:48:36 » |
|
is the practice of making loans to borrowers who do not qualify for the best market interest rates because of their deficient credit history
ลองนึกถึงบ้านเราตอนก่อนฟองสบู่แตก การเศรษฐกิจตอนนั้นดีมาก แต่ที่จริงคือภาพลวงตา เงินที่เห็นกันอยู่เกิดจากการหมุน อาจจะเป็นเงินจากอนาคต หรือจากการกู้ยืม มันก็มีจุดนึงที่คนเราไม่ระวัง ปล่อยให้มันมากเกินไปมันก็แตก Subprime lending is risky for both lenders and borrowers ...combination of high interest rates, poor credit historyเมื่อเศรษฐกิจดี การปล่อยกู้ย่อมเป็นไปได้ง่าย ไม่เหมือนสมัยนี้ จะกู้แต่ละทีเช็คแล้วเช็คอีก ว่าลงทุนไปแล้วจะเจ๊งป่าว มันก็เสี่ยงเดะ สุดท้าย ตัดบทความมาให้ดีกว่า เขียนดีกว่ากันเยอะ  Subprime Loan เป็นสินเชื่อประเภทหนึ่งของสหรัฐฯ ที่ให้เงินกู้กับผู้ขอสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์มากกว่าหรือเท่ากับมูลค่าของหลักทรัพย์ จากปกติจะให้สินเชื่อประมาณ 80% ของมูลค่าหลักทรัพย์เท่านั้น นอกจากนี้ถ้าราคาอสังหาริมทรัพย์เพิ่มขึ้น ผู้ขอสินเชื่อก็สามารถขอวงเงินกู้เพิ่มเติมตามราคาหลักทรัพย์ที่เพิ่มขึ้นมาได้ ซึ่งในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา สินเชื่อ Subprime ได้ขยายตัวอย่างรวดเร็ว เนื่องจากราคาอสังหาริมทรัพย์ในสหรัฐฯ ได้เพิ่มสูงขึ้นมาก แต่ขณะนี้ราคาอสังหาริมทรัพย์ในสหรัฐฯ ได้ลดลง ทำให้ธนาคารพาณิชย์ของสหรัฐฯ ต้องการเงินกู้คืน เพื่อป้องกันความเสี่ยง เมื่อผู้ขอสินเชื่อไม่มีเงินมาชำระ จึงกลายเป็นสินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL) สาเหตุที่ทำให้ปัญหาสินเชื่อ Supprime ส่งผลกระทบไปทั่วโลก เนื่องจากธนาคารพาณิชย์ของสหรัฐฯ มีการออกตราสารหนี้ที่เรียกว่า Collatteral Debt Obligation (CDO) โดยนำสินเชื่อ Subprime เป็นหลักทรัพย์ค้ำประกัน เมื่อราคาอสังหาริมทรัพย์ลดลง ก็มีผลให้มูลค่าของ CDO ลดลงตามไปด้วย และมีผลกระทบต่อเนื่องไปถึงผู้ที่ลงทุนใน CDO ซึ่งมีอยู่ทั่วโลก ส่วนสาเหตุที่นักลงทุนนิยมเข้าไปลงทุนใน CDO เนื่องจากเป็นการลงทุนที่ให้ผลตอบแทนสูง โดย CDO ที่มีอันดับเครดิตต่ำบางประเภท ให้ผลตอบแทนสูงถึง 10% ส่วน CDO ที่มีอันดับเครดิตที่ดี อัตราผลตอบแทนก็จะลดลงมา แต่ปัญหาของการลงทุนใน CDO คือ มีความเสี่ยงค่อนข้างสูง มีสภาพคล่องน้อย และไม่มีตลาดมารองรับในช่วงที่ผู้ถือหน่วยลงทุนต้องการขาย ทำให้ธนาคารพาณิชย์และกองทุนที่ลงทุนใน CDO ต้องนำเงินทุนมารับซื้อหน่วยลงทุนคืน Subprime สามารถแก้ไขได้ ถ้าธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด) ลดอัตราดอกเบี้ยลง เพราะจะทำให้ประชาชนรู้สึกว่าปัญหาได้ถึงจุดต่ำสุดแล้ว และกล้าที่จะลงทุนอีกครั้ง ส่วนการที่ธนาคารกลางของประเทศต่าง ๆ ได้อัดฉีดเงินเข้าสู่ระบบไปแล้วนั้น ก็จะช่วยได้เฉพาะธนาคารของแต่ละประเทศเท่านั้น credit : money channel
|
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 25 มกราคม 2008, 15:50:57 โดย Octillion »
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
Octillion
งงอ่ะดิ
Gold Member
อาจารย์ปู่
  
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 8,854

|
 |
« ตอบ #26 เมื่อ: 25 มกราคม 2008, 15:53:31 » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
taxman : ปทุมธานี
= ประธานคลับ . . . โอมเหม่ง =
ประธานคลับ
อาจารย์ปู่
      
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 23,937

Work hard, Play hard
|
 |
« ตอบ #28 เมื่อ: 25 มกราคม 2008, 16:06:05 » |
|
มาแล้วครับ ตอนแรกนึกว่าจะสั้นๆ แต่ยาวเหยียดเลย ลองอ่านกันเล่นๆก็แล้วกันเน๊อะ 1. Sub-Prime คืออะไร หากพูดถึงคำฮิตที่พูดกันหนาหูในระยะ 2-3 เดือนที่ผ่านมา คงหนีไม่พ้นคำว่า Sub-Prime (ซัพไพร์ม) ที่เกิดขึ้นในช่วงนี้อย่างแน่นอน คำว่า Sub-Prime นั้น หากบรรยายเป็นภาษาง่ายๆ ก็คือ สินเชื่อที่อยู่อาศัยที่ปล่อยให้ลูกหนี้คุณภาพต่ำ หรือหมายถึง การปล่อยกู้ให้แก่ลูกหนี้ที่มีประวัติด่างพร้อยด้านสินเชื่อ และมีทุนทรัพย์จำกัด เพื่อให้ลูกหนี้นำเงินไปซื้อที่อยู่อาศัย 2. Sub-Prime ในสหรัฐฯ ทำไมถึงเป็นข่าวดังกระฉ่อนไปทั่วโลก ที่ไปที่มา ไม่มีอะไรซับซ้อนครับ (หรือจะซับซ้อนตอนที่ผมอธิบายหรือเปล่าไม่แน่ใจ) คืออย่างนี้ ใครที่อ่านข่าวเศรษฐกิจบ่อยๆ หรือเคยเรียนเศรษฐศาสตร์มหภาค ( Macro Economics) มันก็มาจากสาเหตุเดียวนั่นล่ะครับคือ อุปสงค์ หรือความต้องการสินค้าและบริการของผู้บริโภค (Demand) และ อุปทาน หรือปริมาณสินค้าและบริการของผู้ผลิต (Supply) หลักการง่ายๆคือ หากเมื่อใดที่ความต้องการสินค้าและบริการ (อุปสงค์) มากกว่า ปริมาณสินค้าและบริการ (อุปทาน) หรือ คนอยากที่จะซื้อของมากกว่า ของในตลาดที่มีอยู่ (Exceed Demand) ผลที่ตามมาก็คือ ราคาสินค้าและบริการก็จะสูง ในทางตรงกันข้ามครับ เมื่อความต้องการสินค้าและบริการน้อยกว่า ปริมาณสินค้าและบริการ(Exceed Supply) หรือพูดง่ายๆคือ ของมีมากกว่าคนที่จะซื้อ คนขายก็จะลดราคาลง หรือราคาสินค้าในตลาดก็จะลดราคาลง ทีนี้ แล้วมันเกี่ยวอะไรกันล่ะ ? มันเริ่มอย่างนี้ครับ ปกติคนเราทุกคน ก็ต่างที่อยากจะมีบ้านซักหลังเป็นที่อยู่อาศัยในช่วงชีวิตหนึ่ง ในขณะที่แต่ละคน ก็มีหลายฐานะ มีรายได้ไม่เท่ากัน บางคนรายได้มาก ก็สามารถซื้ออสังหาริมทรัพย์ หรือบ้านพักอาศัยได้เลย โดยไม่เป็นปัญหา แต่คนอีกไม่น้อยที่มีรายได้ไม่มากพอที่จะมีกำลังซื้อบ้านได้ แต่อยากมีบ้านซักหลังไว้ซุกหัวนอนเป็นของตัวเอง แล้วจะยังไงล่ะครับ กลุ่มคนกลุ่มนี้แหล่ะ ก็ต้องหาทางออกโดยการ กู้ยืมจากธนาคาร หรือสถาบันการเงินต่างๆ เพื่อที่จะนำเงินตรงนี้ไปซื้อบ้านกัน นี่แหล่ะครับ ไฮไลท์ (High-light) ของเรื่องนี้ ผมขอยกตัวอย่างง่ายๆ ก็แล้วกันว่า สมมติมีโครงการหมู่บ้านจัดสรรโครงการหนึ่งผุดขึ้นมา ขายบ้านใหม่ที่ราคา 1 แสนเหรียญ ให้กับนาย B โดยที่นาย B กู้เงินจากธนาคารแห่งหนึ่งเพื่อนำเงินไปซื้อบ้านโครงการ A โดยจำนองบ้านหลังนี่ไว้กับธนาคาร เมื่อเวลาผ่านไป นาย B ไม่สามารถชำระเงินให้กับธนาคารได้ตามเวลาที่กำหนด แทนที่เจ้าของกิจการอสังหาริมทรัพย์นั้นๆ จะขายได้ 1 แสนเหรียญเต็มๆ แต่เมื่อธนาคารนำบ้านที่ติดจำนองไปขายทอดตลาด เชื่อเถอะครับ ปล่อยขายไม่ถึง 1 แสนเหรียญหรอก ทีนี้ก็เริ่มเป็น วัฎจักร (Circle) แล้วล่ะครับ ถ้ามีกรณีอย่างนาย A ซัก 1 ล้านคน มูลค่าความเสียหายที่เกิดขึ้นมันมากมายมหาศาลมาก ผลกระทบที่เกิดขึ้นแน่ๆคือ 1) สถาบันการเงิน (เจ้าหนี้) 2) เจ้าของกิจการอสังหาริมทรัพย์ (เจ้าหนี้ และลูกหนี้) 3) ผู้บริโภค (ลูกหนี้) 4) เศรษฐกิจของประเทศ3. ผลกระทบที่เกิดขึ้นในสหรัฐเป็นอย่างไร จากสาเหตุในข้อ 2 ที่ผมสาธยายให้ฟังมาซะยาวเหยียด จนเป็นวัฎจักร ผลกระทบที่เกิดขึ้นก็คือ อสังหาริมทรัพย์หรือบ้านที่อยู่อาศัย ที่เดิมราคาแพงหูฉี่ เหมือนจะขายดิบขายดีในสหรัฐฯ แต่เมื่อเจอปัญหาลูกหนี้ด้อยคุณภาพแล้ว อสังหาริมทรัพย์ทั้งหลายก็เหลือบานเบอะ ที่ขายได้ ก็ขายได้ไม่เยอะ แถมยังมีอสังหาริมทรัพย์อีกมากมายมหาศาล หลาย Unit ที่ไม่สามารถขายได้ (Exceed Supply) ส่งผลให้ราคาอสังหาริมทรัพย์ที่ราคาแพงๆ ไม่สามารถขายได้ เค้าก็ต้องลดราคาขายลง เจ้าของอสังหาริมทรัพย์ก็ประสพปัญหาขาดทุนตามมา เจ้าของบางรายที่กู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินมาก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์ของตน ก็ไม่สามารถชำระเงินให้กับสถาบันการเงินได้ เนื่องจากประสบปัญหาขาดทุนดังกล่าว จะสังเกตได้ว่า ในระยะหลังๆมานี้ ธนาคารกลางสหรัฐฯ (FED) ประกาศลดอัตราดอกเบี้ยลง เพราะอะไร ก็เพราะสาเหตุนี้ล่ะครับ คือ เมื่อลูกหนี้ทั้งฝ่ายเจ้าของอสังหาริมทรัพย์ และฝ่ายผู้ซื้อหรือผู้บริโภค ที่กู้ยืมเงินจากสถาบันการเงิน ไม่สามารถชำระหนี้ให้กับสถาบันการเงินได้ ก็ต้องกดดันให้สถาบันการเงิน ลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ลง เพื่อลดภาระต้นทุนทางการเงินของลูกหนี้ ดังนั้นธนาคารกลางสหรัฐ จึงต้องลดอัตราดอกเบี้ยลง เพื่อกระตุ้นการลงทุน และลดภาระในส่วนของดอกเบี้ยเงินกู้ของลูกหนี้4. จะมี Impact ถึงประเทศไทยหรือไม่ อย่างไร ถ้าจะให้ผมอธิบายคงยาวครับ เอาเป็นว่า ถ้าเริ่มจากการลดลงของอัตราดอกเบี้ย (Interest) ในสหรัฐฯ ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นมีดังนี้ครับ
4.1 ผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจสหรัฐฯ
ด้านอัตราดอกเบี้ย : เมื่ออัตราดอกเบี้ย (เงินฝาก) ลดลง ผู้ฝากเงินกับสถาบัน การเงิน หรือ นักลงทุนที่ชอบเล่นหุ้นทั้งหลาย คงไม่ชอบนัก เพราะทำให้รายได้ที่คาดว่าจะได้รับ (Expected Return) จากอัตราดอกเบี้ย ลดน้อยลง นักลงทุนเหล่านี้ก็จะนำเงินลงทุนไปหาแหล่งที่ให้อัตราผลตอบแทนที่สูงกว่า ซึ่งเป็นไปได้ว่า นักลงทุนอาจจะนำเงินลงทุนไปลงทุนในประเทศที่ให้อัตราผลตอบแทนในรูปอัตราดอกเบี้ยที่สูงกว่าสหรัฐฯ ได้เป็นต้น เมื่อเงินทุนไหลออกจากสหรัฐฯ ก็ส่งผลกระทบให้ค่าเงิน US ของสหรัฐฯ อ่อนค่าลง เศรษฐกิจสหรัฐฯ ขาดความน่าเชื่อถือของนักลงทุน เศรษฐกิจของมหาอำนาจสหรัฐฯ ก็จะพลอยทรุดตัวลงตามไปด้วย สำหรับด้านอัตราดอกเบี้ย (เงินกู้) ลดลง ผลกระทบที่เกิดขึ้น ตามข้อ 3
4.2 ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับประเทศไทย จากผลกระทบของ 4.1
อัตราดอกเบี้ยในประเทศที่สูงกว่า โดยเปรียบเทียบกับสหรัฐฯ เป็นไปได้ที่นักลงทุนจากต่างประเทศ จะนำเงินลงทุน เพื่อเก็งกำไรเข้ามาลงทุนในประเทศไทย มีผลให้ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ (Supply of money) เพิ่มสูงขึ้น ส่งผลค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้น เมื่อค่าเงินบาทอยู่ในระดับที่แข็งขึ้น (เช่น 1 US = 38 บาท ? 1 US = 35 บาท) ส่งผลให้การส่งออกของประเทศชะลอตัว เพราะเงินสกุลต่างประเทศที่ได้มาจากการส่งออก แลกเป็นเงินบาทได้ลดลง แต่ก็มีผลดีคือ เราสามารถนำเข้าวัตถุดิบจากต่างประเทศได้ดีขึ้น เพราะเราใช้เงินบาทแลกเงินตราต่างประเทศในจำนวนที่น้อยกว่า แต่ในระยะยาว หาก การนำเข้ามากกว่าการส่งออก ก็จะเกิดผลต่อดุลการค้าของประเทศขาดดุลได้ แต่ก็ดีตรงที่ ค่าเงินบาทแข็ง5. จะรับมือกับมันอย่างไร ยึดแนวตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง มีน้อยใช้น้อย มีมากก็เก็บออม แล้วจะมีความสุขในยุคเศรษฐกิจแบบนี้ครับwritten by TAXMAN
|
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 25 มกราคม 2008, 16:12:42 โดย taxman »
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
taxman : ปทุมธานี
= ประธานคลับ . . . โอมเหม่ง =
ประธานคลับ
อาจารย์ปู่
      
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 23,937

Work hard, Play hard
|
 |
« ตอบ #38 เมื่อ: 27 มกราคม 2008, 12:56:13 » |
|
มาเสริมข้อ 5 ให้อีกนิดละกันจากที่ผมเขียนไปข้างตน กรณีที่ประเทศไทยยังไม่มีการปรับลดอัตราดอกเบี้ย แต่หากทนแรงกดดันของมหาอำนาจอย่าง สหรัฐฯ ไม่ไหว กรณีที่ FED ลดอัตราดอกเบี้ยแล้ว อาจส่งผลให้ประเทศไทยมีเม็ดเงินไหลเข้ามากจนเกินไป (เพราะอัตราดอกเบี้ยโดยเปรียบเทียบระหว่างไทย สูงกว่า สหรัฐฯ และประเทศอื่นๆ) หากเม็ดเงินลงทุนแห่ไหลเข้าประเทศไทยมากเกินไป อย่างที่ผมบอกล่ะครับ เราคงอาจจะได้เห็นค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึ้นกว่าในปัจจุบันก็เป็นได้
1. ใครที่ถือเงินUS ดอลล่าห์ไว้เพื่อเก็งกำไร คงไม่ค่อยชอบ เพราะตัวเองอาจขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนก็ได้ หากคุณเผลอไปซื้อเงิน US ตอนที่เงินบาทอ่อนตัว
2. เงินบาทที่แข็งค่าจนเกินไป แน่นอนครับ ผู้ประกอบการส่งออกต้องได้รับผลกระทบแน่นอน เพราะรายได้จากอัตราแลกเปลี่ยนเมื่อนำเงินต่างประเทศแลกกลับมาเป็นเงินไทย อาจมีรายได้จากการส่งออก (กรณีเงินบาท) ลดลง
3. ผู้ประกอบการที่ต้องการนำเข้าวัตถุดิบหรือสินค้าจากต่างประเทศคงปรารถนาที่จะเห็นเงินบาทแข็งค่าขึ้น เพราะตัวเองจะได้นำเข้าสินค้าในราคาที่ถูกลง (เพราะนำเงินบาทแลกเป็นเงินตราต่างประเทศในจำนวนเงินบาทที่น้อยลง)
4. ราคาน้ำมันอาจจะลดลงตามค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึ้น อันนี้คนใช้รถคงชอบกันนะครับ
5. แต่ก็อีกนั่นล่ะครับ เงินบาทที่อาจแข็งเกินไป มันมีทั้งผลดีและผลเสียอย่างที่ผมยกตัวอย่างข้างต้น แต่อย่าลืมนะครับว่า ประเทศไทย ยังคงต้องพึ่งพาเศรษฐกิจระหว่างประเทศอยู่ ซึ่งจะเห็นได้ว่า รายได้ส่วนใหญ่ของประเทศ มาจากการส่งออกแทบทั้งสิ้น อีกประการหนึ่งที่สำคัญคือ เมือ่เงินลงทุนจากต่างประเทศแห่ไหลเข้ามาในเมืองไทยมากเท่าไหร่ Impact ที่อาจจะได้เห็นกันคือ
- การผ่อนปรนเงื่อนไขการสำรองเงินของธนาคารพาณิชย์ จากธนาคารแห่งประเทศไทย ซึ่งคอยดูกันครับว่าจะเกิดขึ้นหรือไม่
- การประกาศลดอัตราดอกเบี้ยจากธนาคารแห่งประเทศไทย (หากวิกฤตแฮมเบอร์เกอร์ไม่สามารถควบคุมได้)
- ค่าเงินบาทถูกแทรงแซงอาจจะไม่เห็นค่าเงินบาทที่แข็งอย่างที่ควรจะเป็น
- ฯลฯ เครียดวุ๊ย 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|