|
Playboy_palm
บุคคลทั่วไป
|
 |
« ตอบ #1 เมื่อ: 02 สิงหาคม 2008, 21:08:08 » |
|
เงินเฟ้อ ... คือราคาสินค้า หรือต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น หรือเงินเท่าเดิม ซื้อได้ในปริมาณที่ลดลง กรำ ทำไงหว่า ลดต้นทุนของวัตถุดิบ รวมไปถึงต้นทุนของการผลิต ตลอดจนราคา ของสินค้าโดยรวม เพื่อให้ตอบสนองต่อความต้องการ ของการใช้จ่าย ให้สูงสุด ไม่ทำสินค้าในลักษณะของผลิตภัณฑ์ ในลักษณะใหญ่ เน้นสินค้าจำเป็น โดยคำนึงถึง ต้นทุนของวัตถุดิบที่สูงขึ้น ต้นทุนของการผลิตที่สูงขึ้น แต่ทำสินค้าให้ออกมาได้ลักษณะใกล้เคียงที่สุด ถ้าโรงแรม ก็เช่น การจัดแพคเกจ ในลักษณะ ของ co.coperate (ถูกป่าวหว่า) เช่นการร่วมมือกัน ของ พันธมิตร ในด้านโรงแรม การท่องเที่ยว การจัดโปรโมชั่น แพคเกจ เพื่อเป็นการกระตุ้นการใช้เงิน ให้เกิดการหมุนเวียน หรือการ ลดอัตราดอกเบี้ย กู้ การเพิ่มอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก การปล่อยพันธบัตรเพื่อก่อให้เกิด การกระตุ้น การหมุนเวียน ของเม็ดเงิน การเกิดการลงทุน เพื่อให้ได้มาซึง่มูลค่าเพิ่ม ของตัวสินค้า ประมาณนี้นะ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
renton
Gold Member
ศิษย์พี่
  
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 243

|
 |
« ตอบ #2 เมื่อ: 02 สิงหาคม 2008, 21:08:52 » |
|
อิอิ  เป็นธุรกิจอะไรอ๊ะครับ เพราะ ธรุกิจหลายประเภทก็ได้ผลกำไรอย่างงามจากการที่มีภาวะเงินเฟ้อ ถ้าถามว่าจะแก้ไขปัญหาอย่างไร ก็คงจะพูดยากอ๊ะครับ เพราะว่ามุมมองในระดับของผู้บริหารก็คงจะมอง แตกต่างกันออกไป มองจากวิกฤตให้เป็นโอกาส  พูกง่ายนะเนี่ย แต่คิดยากมาก ผมว่าคงต้องใจเย็น ๆ ประสบการณ์จากการได้รับข่าวสารต่าง ๆ ข้อนข้างสำคัญมากมากครับ ในการตัดสินใจแก้ปัญหานะ ยังงัยก็ขอให้โชคดีนะครับ เป็นกำลังใจช่วยครับ 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Playboy_palm
บุคคลทั่วไป
|
 |
« ตอบ #3 เมื่อ: 02 สิงหาคม 2008, 21:12:44 » |
|
อิอิ  เป็นธุรกิจอะไรอ๊ะครับ เพราะ ธรุกิจหลายประเภทก็ได้ผลกำไรอย่างงามจากการที่มีภาวะเงินเฟ้อ ถ้าถามว่าจะแก้ไขปัญหาอย่างไร ก็คงจะพูดยากอ๊ะครับ เพราะว่ามุมมองในระดับของผู้บริหารก็คงจะมอง แตกต่างกันออกไป มองจากวิกฤตให้เป็นโอกาส  พูกง่ายนะเนี่ย แต่คิดยากมาก ผมว่าคงต้องใจเย็น ๆ ประสบการณ์จากการได้รับข่าวสารต่าง ๆ ข้อนข้างสำคัญมากมากครับ ในการตัดสินใจแก้ปัญหานะ ยังงัยก็ขอให้โชคดีนะครับ เป็นกำลังใจช่วยครับ  นั่นจิ ตอบยาก จริงๆ ด้วยล่ะ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
Playboy_palm
บุคคลทั่วไป
|
 |
« ตอบ #5 เมื่อ: 02 สิงหาคม 2008, 21:29:04 » |
|
ขอบคุณนะค๊าพี่ปามกะคุณ renton แต่ยังงงๆอ่ะค่ะ เอาอีกๆๆๆ ธุรกิจอะไรที่ได้ผลกำไรจากเงินเฟ้ออ่ะคะ แล้วถ้าเงินฝืดด้วยนะคะ แก้ไขยังไง รบกวนหน่อยนะคะ พลีสสสสสสสส  กล้วยทอดแล้ว เงินฝืด......เด๋วๆๆๆๆ หาข้อมูลให้ ไหนๆ ก็ไหนๆ แล้ว นั่งทำรายงานอยู่ ช่วยด้วยครับ ใครสามารถหา แผนผัง ของการจัดการ ในโรงแรมได้มั่งอ่าาาา ว่าเขาแบ่งสายงานอะไร ยังไง พร้อมกับ อธิบายเลย จะเป็นพระคุณอย่างสูงครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
taxman : ปทุมธานี
= ประธานคลับ . . . โอมเหม่ง =
ประธานคลับ
อาจารย์ปู่
      
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 23,937

Work hard, Play hard
|
 |
« ตอบ #6 เมื่อ: 02 สิงหาคม 2008, 21:32:40 » |
|
snack snack fish fish นะครับ ก่อนอื่นต้องทราบที่มาที่ไปของคำว่าเงินเฟ้อ หรือ inflation กันก่อนนะ เงินเฟ้อ หมายถึง ภาวะที่ระดับราคาสินค้าโดยทั่วไปอยู่ในระดับที่สูง หรือพูดภาษาชาวบ้านว่าของแพงขึ้นนั่นเอง เราจะสังเกตง่ายๆครับว่า เงินจำนวนเท่าเดิม แต่เราซื้อของได้น้อยลงนั่นแหล่ะครับ การที่ระดับราคาสินค้าโดยทั่วไปสูงขึ้น หรือเกิดภาวะเงินเฟ้อนั้น มันมีที่มาอยู่หลายปัจจัยอาทิเช่น ต้นทุนภายนอกและภายในประเทศนั้นๆ มีแนวโน้มสูงขึ้น ส่งผลให้ภาคการผลิตส่วนใหญ่ มีต้นทุนการผลิตที่สูงตามไปด้วย ในปัจจุบันก็คือ ระดับราคาน้ำมัน นับว่าเป็นปัจจัยหลักที่ส่งผลให้ทั้งค่าขนส่ง ค่าบริการ สูงขึ้นนั่นเอง ทีนี้หากภาคธุรกิจที่จะเข้าไปลงทุนในประเทศที่มีภาวะเงินเฟ้อ เราจะเผชิญกับภาวะนี้อย่างไร ผมขอวิเคราะห์ โดยภาพรวม ภายใต้เงื่อนไขธุรกิจดังนี้ครับ กำไร = รายได้ - รายจ่าย ดังนั้นผมขอวิเคราะห์ในสองส่วนครับ คือ เพิ่มรายได้ และลดรายจ่าย1. ภาครายรับ ทำอย่างไรจึงจะเพิ่มรายได้ได้ ในภาวะเช่นนี้ เราต้องดูในรายละเอียดครับว่า กิจการนั้นๆ มีรายได้หลักจากอะไรบ้าง 1.1 รายได้หลัก กิจการมีรายได้หลักจากอะไร? 1.2 รายได้อื่น ๆ มีอะไรบ้าง 2. ภาครายจ่าย เราต้องลดรายจ่ายนะครับ ต้องวิเคราะห์ก่อนว่า รายจ่ายหลักมีอะไรบ้าง และรายจ่ายอื่นๆ มีอะไรบ้าง หากกิจการมีการกู้ยืมจากสถาบันการเงิน ตรงนี้ต้องระวังครับ ผมให้ข้อคิดง่ายๆ ในประเทศที่มีภาวะเงินเฟ้อ 1. ระดับอัตราดอกเบี้ยเงินฝากของสถาบันการเงินจะสูงขึ้น >>> ข้อดีคือ หากธุรกิจมีรายได้จากดอกเบี้ยรับสูงขึ้น 2. ระดับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ของสถาบันการเงินอาจสูงขึ้น >>> ธุรกิจที่มีการกู้เงินจากแหล่งเงินทุนต่างๆ ต้องระวังครับ เพราะต้นทุนทางการเงินของกิจการจะสูงขึ้นได้ 3. ระดับราคาสินค้าสูงขึ้น >>> หากกิจการมีความจำเป็นต้องนำเข้าสินค้า หรือซื้อสินค้าจากทั้งในและต่างประเทศ คุณต้องหลีกไม่ได้ที่จะมีรายจ่ายของกิจการเพิ่มขึ้นครับ สงสัยผมตอบไม่ตรงแฮะ อิอิ ลองเป็นแนวทางนะครับ 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Playboy_palm
บุคคลทั่วไป
|
 |
« ตอบ #7 เมื่อ: 02 สิงหาคม 2008, 21:33:57 » |
|
แล้ว ของน้องปาล์มนี่ละคะ พี่โอม
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
Playboy_palm
บุคคลทั่วไป
|
 |
« ตอบ #9 เมื่อ: 02 สิงหาคม 2008, 21:37:29 » |
|
ของเจ้าปาล์มอ่ะ อย่างอื่นเฟ้อ
ไม่ใช่อ่ะ แผนผัง การจัดการโรงแรมอ่า 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
|
Playboy_palm
บุคคลทั่วไป
|
 |
« ตอบ #12 เมื่อ: 02 สิงหาคม 2008, 21:49:18 » |
|
เงินเฟ้อ อย่างที่บอกครับ คือ การที่ระดับราคาสินค้าโดยทั่วไปอยู่ในระดับที่สูงขึ้น ส่วนเงินฝืด ก็หมายถึง การที่ระดับราคาสินค้าโดยทั่วไปอยู่ในระดับหนึ่ง แต่ผู้บริโภคที่มีเงินในมือไม่ยอมจับจ่ายใช้สอย หรือพูดง่าย ๆ (อีกแล้ว) คนมีเงินอยู่ในมือ แต่ไม่ยอมใช้จ่ายนั่นเอง  ถามแล้วเพราะอะไรล่ะ คนถึงไม่ยอมใช้ สาเหตุหลักๆ และง่ายที่สุดคือ ของแพง , สินค้าด้อยคุณภาพ คนอยากออม มากกว่าอยากใช้ ลองสังเกตครับว่า ตอนนี้เราอยากใช้เงินมั๊ย 5555555 ผมว่า เร็วๆ นี้ ประเทศเราอาจเผชิญกับภาวะเงินฝืดแล้วล่ะครับ อิอิ เงินฝืด+ เงินเฝ้อ ภาวะเงิน เฝื้ด ระดับสินค้าสูงขึ้น คนมีตังอยู่ในมือ แต่ไม่จับจ่ายใช้สอย กรำ ไปกันใหญ่แระ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
Playboy_palm
บุคคลทั่วไป
|
 |
« ตอบ #20 เมื่อ: 04 สิงหาคม 2008, 11:51:24 » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
Playboy_palm
บุคคลทั่วไป
|
 |
« ตอบ #22 เมื่อ: 04 สิงหาคม 2008, 13:31:39 » |
|
คันเก่า ปาล์ม ก็โคมขาวนะคะ ไม่มีมุมส้ม แต่ขายไปแระ :'(
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Playboy_palm
บุคคลทั่วไป
|
 |
« ตอบ #23 เมื่อ: 04 สิงหาคม 2008, 13:32:25 » |
|
:'( :'( ไม่บอกพี่ก่อน จะได้ติวให้ อิอิ
พี่โอม จะติวอะไรให้ปาล์มเหรอ...?? 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
|
|
|
|
lonelydevil
Gold Member
อาจารย์ปู่
  
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 3,155

=no.383=
|
 |
« ตอบ #29 เมื่อ: 08 สิงหาคม 2008, 00:49:00 » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
soda
Gold Member
เจ้ายุทธภพ
  
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 1,158
|
 |
« ตอบ #30 เมื่อ: 08 สิงหาคม 2008, 10:26:21 » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|